คุณภาพของสินค้าหรือบริการคือสิ่งที่ทุกองค์กรต้องสร้างให้เกิดขึ้นในการทำงานเพื่อให้สามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าให้ได้มากที่สุด การสร้างคนให้เข้าใจในการรักษาไว้ซึ่งคุณภาพหรือที่เรียกว่ามีจิตสำนึกคุณภาพเพราะถ้าเรามีพนักงานที่มีจิตสำนึกในการที่จะรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ คิดถึงแต่การทำงานให้มีคุณภาพ การสร้างจิตสำนึกด้านคุณภาพจึงไม่ใช่สิ่งที่รอได้อีกต่อไปและเมื่อมีจิตสำนึกคุณภาพเกิดขึ้นแล้วองค์กรยังจะสามารถพัฒนาองค์กรในด้านต่างๆได้ง่ายและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอีกด้วย
วัตถุประสงค์:
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้เกี่ยวกับจิตสำนึกด้านคุณภาพ จิตสำนึกที่ดีในการทำงาน มีความตระหนักในการปรับเปลี่ยนแนวคิดให้เกิดจิตสำนึกในการปฏิบัติงาน และสร้างให้เกิดวัฒนธรรมการทำงานด้วยจิตสำนึกที่ดี ลดของเสีย และเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
หัวข้อการสัมมนา:
- ความหมายและความสำคัญของคำว่า “คุณภาพ”
- ความท้าทายที่จำเป็นต้องมุ่งเน้นที่ “คุณภาพ”
- ขอบเขตคำว่า “คุณภาพ” ครอบคลุมถึงอะไรบ้าง
- ความเข้าใจคลาดเคลื่อนและความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ “คุณภาพ”
- แนวความคิดหลักเกี่ยวกับ “คุณภาพ”
- บัญญัติแห่งความจริง 10 ประการ เกี่ยวกับคุณภาพ
- จิตสำนึกและจิตสำนึกคุณภาพคืออะไร
- ผลกระทบจากการขาด จิตสำนึกคุณภาพ
- การสร้างการตระหนักรู้ให้เกิดจิตสำนึกคุณภาพ
- พฤติกรรมของผู้มีจิตสำนึกคุณภาพ
- สรุปการเพิ่มผลผลิตเพื่อความยั่งยืนขององค์กร
**หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ**
- หัวหน้างาน พนักงานทุกระดับ
รูปแบบการสัมมนา:
>> การบรรยาย 40 %
>> เกม / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop และการนำเสนอผลงานกลุ่ม 30 %
>> การแบ่งปันการเรียนรู้ร่วมกัน + การแข่งขันกระตุ้นผลงาน 30 %
เอกสารแนบ
Inhouse การสร้างจิตสำนึกด้านคุณภาพ Quality Awareness
File size : 0.87 Mb | File type : .pdf | Download : 1,191
หลักสูตรอื่น ๆ
ข้อกำหนด ISO 14064-1:2018 มาตรฐานการจัดการคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (ก๊าซเรือนกระจก)
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นหนึ่งในความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่โลกกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน เป็นปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจและผู้คนมากขึ้นเรื่อย ๆ และส่งผลกระทบต่อความพร้อมใช้ง..
ข้อกำหนด ISO 9001:2015 และการนำไปใช้ (ISO 9001 : 2015 Requirements and Implementation)
การประยุกต์ใช้หลักการบริหารด้านคุณภาพและมาตรฐาน ISO 9001:2015 เป็นพื้นฐานของการพัฒนากระบวนการในองค์กรอย่างเป็นลำดับและต่อเนื่อง เนื่องจากโครงสร้างของข้อกำหนดที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งภาคบริการและภาคอ..
การตรวจติดตามภายในระบบ ISO 9001:2015 Internal Quality Audit ISO 9001:2015
ผู้ตรวจติดตามภายใน คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ ในการตรวจสอบ ทบทวนระบบ พร้อมทำการแนะนำสิ่งที่ควรปฏิบัติเพื่อให้องค์กร บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ จึงนับว่าผู้ตรวจติดตามภายในนั้นเป็นบุคลากรที่สำคัญอย่างยิ่งในอง..
การวิเคราะห์ความเสี่ยงและโอกาสทางด้าน ISO9001:2015 (Risk & Opportunities Assessment of ISO9001:2015)
จากการเปลี่ยนแปลงระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO9001:2015 ใหม่ ซึ่งมุ่งเน้นให้มีการประเมินความเสี่ยงและโอกาสทางด้านคุณภาพ ประเด็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้ทุกองค์กรชี้บ่งว่าองค์กรมีความเสี่ยงหรือโอกาสด้านไหน..
ตรวจติดตามระบบมาตรฐานการจัดการ ISO 45001 :2018 (Internal Auditor ISO 45001 : 2018)
การตรวจติดตามภายในระบบ ISO 45001:2018 และเฝ้าติดตามความเคลื่อนไหวของการประกาศใช้มาตรฐาน ISO 45001:2018 ซึ่งเป็นมาตรฐานสำหรับการบริหารจัดการระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (OH&SMS) ในการประเม..
ข้อกำหนด ระบบมาตรฐานการจัดการ ISO 45001 :2018 (Requirements ISO 45001 :2018)
องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (The International Organization for Standardization: ISO) ได้ประกาศใช้มาตรฐาน ISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational health and safety..
การวิเคราะห์ระบบการวัด ตามข้อกำหนด IATF 16949:2016 (Measurement System Analysis - MSA)
การวิเคราะห์ระบบการวัด (MSA) ถือว่าเป็นเทคนิคที่สำคัญอย่างหนึ่ง ที่มีการนำมาใช้เพื่อประกอบการจัดทำระบบคุณภาพในส่วนของการผลิต โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในเครื่องมือหลักของระบบ IATF 16949 ระ..
ข้อกำหนดและจุดปรับเปลี่ยนที่สำคัญ ISO 14001:2015 ISO 14001:2015 Requirements and Significant Changes
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 ได้ประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2015 โดยได้มีการปรับปรุงข้อกำหนดจากเดิมทั้งหมดเป็น ข้อกำหนดใหม่ 10 ข้อ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 เพื่อให้เกิดค..
Internal Environmental Audit (IEA) ISO 14001:2015
ผู้ตรวจติดตามภายใน คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการตรวจสอบ ทบทวนระบบ พร้อมทำการแนะนำสิ่งที่ควรปฏิบัติเพื่อให้องค์กร บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ จึงนับว่าผู้ตรวจติดตามภายในนั้นเป็นบุคลากรที่สำคัญอย่างยิ่งในองค..
หลักสูตร การสร้างความตระหนักในการทำงานด้านคุณภาพ (Quality Awareness)
ในยุคการแข่งขันทางการค้าสูงปัจจุบัน สินค้าหรือการบริการของเราจำเป็นต้องมีคุณภาพดีและเป็นไปตามความต้องการของลูกค้า แต่หากในทางกลับกันเมื่อสินค้าหรือบริการของเรานั้น มีคุณภาพไม่เป็นไปตามความต้องการของลู..
ผู้บริหารยุคใหม่ มุ่งใส่ใจสู่คุณภาพ การสร้างจิตสำนึกด้านคุณภาพ(Quality Awareness for Executive)
ในยุคการแข่งขันทางการค้าสูงปัจจุบัน สินค้าหรือการบริการของเราจำเป็นต้องมีคุณภาพดีและเป็นไปตามความต้องการของลูกค้า แต่หากในทางกลับกันเมื่อสินค้าหรือบริการของเรานั้น มีคุณภาพไม่เป็นไปตามความต้องการของลู..
กระบวนการอนุมัติชิ้นส่วนการผลิต (Production Part Approval Process ( PPAP ,4th edition))
ในวงการอุตสาหกรรมยานยนต์ มาตรฐานยายนต์ IATF16949 มีความจำเป็นอย่างมากในห่วงโซ่ผู้ส่งมอบและหนึ่งในข้อกำหนดของอุตสาหกรรมยานยนต์ คือ core tools สำหรับหลักสูตรนี้จะเน้น กระบวนการอนุมัติชิ้นส่วนการผลิตซึ่ง..
การควบคุมกระบวนการโดยใช้เทคนิคทางสถิติและการวิเคราะห์ขีดความสามารถของกระบวนการ(SPC)
การวิเคราะห์ขีดความสามารถของกระบวนการคือเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้การควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยในการวิเคราะห์ขีดความสามารถของกระบวนการนั้น ผู้ที่ทำการวิเคราะห์จำเป็นอย่างยิ..
Six Sigma เบื้องต้นและการประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ Introduction to Six Sigma
Six Sigma คือ แนวทางการพัฒนาองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นเครื่องมือพื้นฐานทางสถิติทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ที่มีระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติอย่างชัดเจน เพื่อมุ่งเน้นการลดความผันแปรของกระบวนการด้วยเป้าหม..
การอ่านและการแปรผล การสอบเทียบเครื่องมือวัด
การดำเนินธุรกิจปัจจุบัน ไม่มีองค์กรใด ไม่ว่าภาครัฐหรือภาคเอกชนสามารถดำเนินการเพื่อให้เกิดคุณภาพและบริการที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า เพื่อให้เกิดการยอมรับและแข่งขันในธุรกิจได้ ซึ่งสิ่งสำคัญส่วนห..
การควบคุมคุณภาพเชิงปฏิบัติ Quality Control Practices
คุณภาพของสินค้าหรือบริการคือสิ่งที่ทุกองค์กรต้องสร้างให้เกิดขึ้นในการทำงาน เพื่อให้สามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าให้ได้มากที่สุด การสร้างคนให้เข้าใจในการรักษาไว้ซึ่งคุณภาพหรือที่เรียกว่ามี “การควบค..
การบริหารการผลิตและเทคนิคการควบคุมคุณภาพให้เกิดประสิทธิภาพ Effective Production and QC. Awareness
การควบคุมคุณภาพ (Quality control) ของสินค้าเพื่อลดและป้องกันการเกิดของเสียเป็นศูนย์ (Zero Defect) จึงเป็นเทคนิคที่สำคัญในการเพิ่มผลผลิต (Productivity) ในการบวนการผลิตที่สามารถช่วยให้การทำงานมีประสิทธิ..
เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพชิ้นงานขั้นสูง (Advance Problem Solving Analysis)
ในการประกอบธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรงงานอุตสาหกรรม ขนส่ง นำเข้า/ส่งออก เทรดดิ้ง แม้กระทั่งอุตสาหกรรมบริการ และอื่นๆ คงจะหลีกเลี่ยงปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นหรืออาจจะเกิดขึ้นไม่ได้ เทคนิคการวิเคราะห์หารากเ..
การควบคุมคุณภาพและระบบการควบคุมสารปนเปื้อนในอุตสาหกรรมยานยนต์ (RoHS, REACH, ELV, IMDS)
ในโลกแห่งการแข่งขันที่รุนแรงเพิ่มขึ้นทุกวันทุกๆองค์กรต่างพัฒนายกระดับคุณภาพของสินค้าของตนเองอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ตรงกับความต้องการและสามารถตอบสนองต่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า การควบคุมคุณภาพจึงเป็น..
การจัดทำแผนการควบคุม Control Plan
การวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า เป็นกระบวนการหนึ่งในระบบบริหาร เพื่อให้ทุกองค์กรการศึกษา และออกแบบวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้าก่อนการผลิตจริง ดังนั้นทีมงานผู้รับผิดชอบจึงจาเป็นต้องมีความรู้และความเข..