การใช้งานรถยกอย่างปลอดภัย
(Forklift Operator Safety Training)
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันรถยก หรือ โฟร์คลิฟท์ (Fork Lift) เป็นอีกหนึ่งในเครื่องจักรกลที่เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อกระบวนการผลิต ในสถานประกอบกิจการ นอกจากเป็นเครื่องจักรกลชนิดหนึ่งที่ใช้งานในการยก และ เคลื่อนย้ายวัสดุเพื่อความสะดวกแล้วยังช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และลดการบาดเจ็บจากการยกด้วยแรงคนอีกด้วย
โดยรถยกนั้นมีรูปแบบและขนาดที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับการใช้งานนั้น ๆ และ เนื่องจากที่ผ่านมามีแนวโน้มการใช้รถยกค่อนข้างสูง และ มีอุบัติเหตุจากการทางานเกิดขึ้น ค่อนข้างบ่อยทาให้มีผู้เสียชีวิต พิการ และ บาดเจ็บจานวนมาก โดยมีสาเหตุมาจากการไม่ตรวจสอบความปลอดภัย ในการใช้รถยกตามช่วงระยะเวลาที่กาหนด ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ การขับขี่รถยก ตลอดจนพนักงานขับรถยกขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขับขี่รถยกอย่างถูกต้องและปลอดภัย
ดังนั้นเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการขับขี่รถยก ผู้ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับรถยก ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย
ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับการใช้รถยกอย่างเคร่งครัด และ วางมาตรการป้องกัน รวมทั้งระบบการบริหารความปลอดภัยในการใช้รถยกอย่างปลอดภัย ตลอดจนตรวจสอบสภาพการทางานและ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับรถยกอย่างจริงจังตามระยะเวลาที่กาหนด
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจกฎหมาย และ มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรถยก
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ตระหนักถึงอันตราย และ มีจิตสานึกความปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจหลักการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถยก
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจวิธีการตรวจสอบ การปฏิบัติงานที่ถูกต้องและปลอดภัยจากการใช้รถยก
หัวข้อการสัมมนา
- กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานกับรถยก และมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
- สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุและอันตรายต่างๆที่เกิดจากการทางานกับรถยก
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับชนิดและประเภทของรถยก
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบารุงรักษาเบื้องต้น และการบารุงรักษาตามระยะเวลา
- ทำข้อสอบ Post test
- วิธีการใช้รถยกอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- วิธีตรวจสอบสภาพรถยกประจาวันก่อนใช้งาน
- ฝึกปฏิบัติและทดสอบการใช้งานรถยก
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
- ผู้ควบคุมงาน และ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานทุกระดับ
- พนักงานที่ทาหน้าที่ขับรถยก
รูปแบบการสัมมนา:
- การบรรยาย โดยใช้สื่อ Power Point
- ทดสอบภาคทฤษฎี ต้องผ่านเกณฑ์ 60 %
- ทดสอบภาคปฏิบัติ ต้องผ่านเกณฑ์ 60%
เอกสารแนบ
หลักสูตร การใช้งานรถยกอย่างปลอดภัย - WMC
File size : 0.61 Mb | File type : .pdf | Download : 919
หลักสูตรอื่น ๆ
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ห..
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ห..
การขับขี่รถโฟล์คลิฟท์อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ปัจจุบันรถยก หรือ โฟล์คลิฟท์ (Fork Lift) เป็นอีกหนึ่งในเครื่องจักรกลที่เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการผลิต ในสถานประกอบกิจการ นอกจากเป็นเครื่องจักรกลชนิดหนึ่งที่ใช้งานในการยก และ เคลื่อนย้ายวัสดุเพื่อค..
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2562 ข้อ 20 กำหนดให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากา..
การปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีเป็นเรื่องที่เสี่ยงอันตราย ซึ่งมักจะมีข่าวการเกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้นเสมอ ๆ ทั้งในสถานประกอบการ หรือระหว่างการขนย้ายสารเคมีวัตถุอันตรายก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินม..
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2554 มาตรา 16 ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้างทุกคน ได้รับการฝึกอบรมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน เ..
พลังงาน คือปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ทั้งในส่วนการผลิตและบริการ การใช้พลังงานก่อให้เกิดต้นทุนอย่างหนึ่งที่ผู้ใช้จำเป็นต้องจ่ายเช่น ไฟฟ้า น้ำ ลม ฯลฯ ถ้ามีการใช้อย่างไม่เหมาะสมก็จะต้องจ่ายม..
หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า (Safety on Electric Works)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558 ของกระทรวงแรงงานได้กำหนดให้ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าเข้ารับการฝึ..
หลักสูตรอบรมการขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ (Defensive Driving Technique)
ปัจจุบันการใช้ชีวิตประจำวันหรือการทางานมีความจำเป็นต้องเดินทางและขนส่ง ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องใช้ยานพาหนะทั้งสิ้นไม่ว่าจะ ทางเครื่องบิน ทางเรือ ทางรถไฟ หรือทางรถยนต์ และจากสถิติที่ผ่านพบว่าอุบัติเหตุที่เก..
หลักสูตรการปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น (First Aid & CPR) อุปกรณ์พร้อม วิทยากรมความชำนาญ
การปฐมพยาบาล หมายถึง การปฏิบัติ การให้ความช่วยเหลือหรือการรักษาพยาบาลในขั้นแรกแก่ผู้ที่ได้รับ อุบัติเหตุหรือผู้ป่วยโดยปัจจุบันทันด่วน ก่อนที่ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาพยาบาลจากแพทย์ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผ..
การจำแนกประเภทสารเคมีและการติดฉลากตามระบบเดียวกันทั่วโลก Globally Harmonized System (GHS)
ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย พ.ศ 2555 โดยมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2555 ซึ่งกำหนดให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้าซึ่งวัตถุอันตรายที่เป็นสารเ..
หลักสูตร การสร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safety Awareness)
การจัดทำระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้ประสบความสำเร็จนั้น จะต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้บริหารทุกระดับ พนักงานทุกคนต้องให้ความร่วมมือในการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจึงจะประสบความส..
การบำรุงรักษารถยกเบื้องต้น (Forklift Basic Maintenance for driver)
เนื่องจากปัจจุบันรถ Forklift ถูกจัดให้เป็นเครื่องจักรกลในการผลิตที่สำคัญ หากมิได้มีการควบคุมดูแลในเรื่องการขับขี่และบำรุงรักษาอย่างถูกต้อง รถ Forklift เกิดขัดข้อง ก็อาจจะส่งผลเสียต่อการทำงาน อีกทั้งยั..
การสร้างพฤติกรรมความปลอดภัยด้วย BBS(Behavior Based Safety) สู่เป้าหมาย Zero Accident
การส่งเสริมและพัฒนาการกระทาที่ปลอดภัยที่มองเห็นได้และวัดได้ รวมทั้งควบคุมและปรับเปลี่ยนการกระทาที่ไม่ปลอดภัยควบคู่และผสมผสานกันไป ดังนั้นการจัดพฤติกรรมความปลอดภัยจึงพิจารณาจาก การสร้างวัฒนธรรมความปลอ..
หลักสูตร การทำงานบนที่สูงอย่างปลอดภัย (Safety Work with High)
การทำงานในที่สูงหรือในพื้นที่ต่างระดับมีอันตรายหรือความเสี่ยงคือการพลัดตกจากที่สูง เช่น การทำงานก่อสร้าง งานสายส่งไฟฟ้า งานซ่อมแซมบำรุงรักษา งานทำความสะอาด ฯลฯ งานดังกล่าวนี้จำเป็นที่ผู้ปฏิบัติงานต้อง..
เทคนิคการสอบสวนอุบัติเหตุ Accident Investigation Report Technique
ในการปฏิบัติในภาคอุตสาหกรรมและอื่นๆ ย่อมมีโอกาสที่จะการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุมาจากการตั้งใจของผู้ปฏิบัติงานหรือเกิดจากปัจจัยเกื้อหนุนด้านอื่นๆ ก็ตามและ สิ่งที่ตามมาก็คือความสูญเส..
การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัยด้วยกิจกรรมการหยั่งรู้อันตราย (KYT (Kiken Yoshi Training))
การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัยด้วยกิจกรรมการหยั่งรู้อันตราย (Kiken Yoshi Training : KYT) เป็นอีกหนึ่งเทคนิคที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าสามารถลดการเกิดอุบัติเหตุ การได้รับบาดเจ็บได้เป็นอย่างดี และช่ว..
ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (Confined spaces)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวด ล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2547 หมวด 1 ข้อ 4 กำหนดไว้ว่า “ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าไปในที่อับอากาศ เว..
การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (Job Safety Analysis)
จากกสถิติการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการทำงานของสำนักงานประกันสังคมในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2542-2551) พบว่ามีแนวโน้มลดลง โดยอัตราการประสบอันตรายทุกกรณีต่อลูกจ้าง 1,000 คน ในปี 2542 สูงถึง 32.3 ต่อ..
การยศาสตร์กับการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย ( Ergonimics)
ปัจจุบันสถานประกอบการส่วนใหญ่ยังคงมีปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ โรคจากการทำงานและความไร้ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ต่ำลง โดยสาเหตุของปัญหาส่วนใหญ่สืบเนื่..
หลักสูตร การทำงานอย่างปลอดภัยโดยใช้ 5 ส. 5S for Work Safety Improvement
ในปัจจุบันการแข่งขันในธุรกิจมีความรุนแรงมากขึ้น สิ่งที่จะทำให้องค์กรธุรกิจสามารถแข่งขันเพื่ออยู่รอดได้ คือการทำให้องค์กรใช้ศักยภาพที่องค์กรมีอยู่อย่างเต็มที่ เพื่อเพิ่มผลผลิตขององค์กรให้ถึงจุดที่สา..
หลักสูตร การจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553 ที่ให้นายจ้างต้องจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการเป็นลาย ลักษณ์อั..
หลักสูตรการจัดทำคู่มือและข้อบังคับ ความปลอดภัยในการทำงาน
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 กำหนดให้สถานประกอบกิจการต้องจัดทำคู่มือความปลอดภัยเพื่อเป็นข้อบังคับในการปฏิบัติงานประจำในแต่ละสถานประก..
การตีความและการประยุกต์ใช้ OHSAS 18001:2007 (Requirement & Interpretation OHSAS 18001:2007)
มาตรฐานการจัดการด้านชีวอนามัยและความปลอดภัย ( Occupational Health and Safety Management System – OH&S) OHSAS 18001 ถือเป็นมาตรฐานสากลที่สำคัญที่องค์กรส่วนใหญ่ทั้งในประเทศและต่างประเทศให้การยอมรับและถื..
หลักสูตร การประเมินความเสี่ยง Risk Management
คุณภาพของสินค้าหรือบริการคือสิ่งที่ทุกองค์กรต้องสร้างให้เกิดขึ้นในการทำงาน เพื่อให้สามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าให้ได้มากที่สุด การสร้างคนให้เข้าใจในการรักษาไว้ซึ่งคุณภาพหรือที่เรียกว่ามี จิตสำนึก..
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ห..
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ห..
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในกาทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง..
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ห..
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในกาทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง..
หลักสูตร ทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น (Stationary Crane Re-Training)
ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๕๒ กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับป..